แสดงบทความที่มีป้ายกำกับ ยึดอำนาจ แสดงบทความทั้งหมด
แสดงบทความที่มีป้ายกำกับ ยึดอำนาจ แสดงบทความทั้งหมด

วันศุกร์ที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

เลือกข่าวอ่านอย่างไร ถึงจะเป็นเรื่องจริง

              ถึงแม้ว่าทุกวันนี้จะมีการสื่อสารที่ทันสมัย ฉับไว แต่ถ้าเราเคยบ้างแน่ๆ ที่เวลาที่เรานั้น อ่านข่างเดียวกัน แต่ที่เวลา ยิ่งได้อ่านหลายๆเวบ หรือหลายๆสื่อ เรานั้นก็จะ รู้ว่าข่าวนั้น ไม่เหมือนกันเลย จนบางครั้ง อดไปคิดไม่ได้ว่า ตอกไข่ ใส่ข่าวนั้นเป็นแบบไหน อะไรคือความจริง หรือเพียงเพื่อเขียน เพื่อเพียงให้คนสนใจเท่านั้น ถ้าเรานั้นได้อ่านข่าว เรื่องเดียวกัน แต่อ่านจากหลายสำนักพิมพ์ ไม่ว่าจะเป็นไทยรัฐ , เดลินิวส์ , ข่าวสด , มติชน , คมชัดลึก หรือแม้แต่กระทั้งข่าวทาง ทีวี ไม่ว่าจะเป็น ช่อง 3 , 5 ,7 , 9 ,11 ซึ่งหลายครั้งที่ข่างนั้น ก็จะเขียนไม่เหมือนกัน และก็เสนอข่างแบบเชิงวิเคราะห์ บางครั้งก็ดีบางทีก็ไม่ดี เพราะว่าจะมีแนวทางว่าน่าจะเป็นอย่างนั้น น่าจะเป็นแบบนี้ ทำให้เนื้อหาของข่าวนั้น เปลี่ยนไปเป็นอย่างมาก เหมือนหลายครั้งที่มีการวิจารณ์ เชิงวิเคราะห์ หลายครั้งก็สร้างความงุนงงมากเลยทุกวันนี้ ทุกคนมีสิทธิ์ที่จะออกความคิดเห็นได้อย่างอิสระ เพียงแต่อย่าไปเป็นการละเมิดสิทธิ์ของผู้อื่นก็เป็นพอ ทุกวันนี้สื่อออนไลน์ นั้นรวดเร็วเป็นอย่างมากด้วยการเปลี่ยนแปลงของโลก
                เมื่อสังคมเปลี่ยน แต่บรรยากาศเดิมๆที่ยังติดอยู่นั้น ก็เห็นจะบอกได้ว่าเป็นเสน่ห์มากที่ เมื่อก่อนนั้น ก็จะมีหนังสือพิมพ์ เพียงสองฉบับที่มีขายทุกวัน และขายดีเป็นที่สุด นั่นก็จะเป็นหนังสือพิมพ์ไทยรัฐและเดลินิวส์ ที่คนไทยนั้นรู้จักกันเป็นอย่างดี  สีสันก็ตรงที่หนังสือพิมพ์นั้นเป็นสีขาว-ดำ แต่หลายคนนั้นยังไม่รู้ประวัติความเป็นมาของหนังสือพิมพ์ มาก่อน มาเล่าแบบประวัติรอบโลกกันเลยดีกว่า คล้ายกับการลอกแถลวงการณ์เมื่อประมาณ 60 ปีก่อนคริสต์กาล ช่วงนั้น โรมันครองอำนาจ จักรพรรดิจูเลียส ซีซ่าร์ บัญชาให้ อาลักษณ์ คัดลอกแถลงการณ์ของพระองค์ ติดไว้ตามกำแพงต่างๆในที่ชุมชนเพื่อให้ประชาชนได้อ่านกันทั่วหน้า นี่คือต้นแบบทางตะวันตก แต่หนังสือพิมพ์ของจีน คือ ซิงเป้า ตีพิมพ์เรื่องของราชสำนัก เมื่อ พ.ศ. 1043 แล้วประเทศเยอรมัน ก็พัฒนาเป็นหนังสือพิมพ์ โดดยประทศเยอรมันเป็นผู้คิดค้นเครื่องพิมพ์ แล้วนำมาใช้ที่ประเทศอังกฤษ เมื่อ ค.ศ. 1997  การพัฒนาแท่นพิมพ์ เป็นไปอย่างต่อเนื่อง จนถึงหนังสือพิมพ์ที่เกิดจากแท่นพิมพ์ เกิดขึ้นฉบับแรกที่  Avisa Relation Order Zeitung พิมพ์ขึ้นที่ประเทศเยอรมันไม่ใช่หนังสือพิมพ์รายวัน แต่เมื่อหนังสือพิมพ์ของโลกออกมาในรายสัปดาห์ ชื่อ A Weekly News London ถือเป็นหนังสือพิมพ์ รายแรกของโลก หนังสือพิมพ์รายวัน ฉบับแรกของโลกก็คือ เอ็ดวาร์ด มอลเลตหนังสือพิมพ์ The Daily Courant ออกดเมื่อวันที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2245 เริ่มด้วยการบทความวิจารย์สังคม บทวิจารย์โจมตีรัฐบาล
                                                                       
             หนังสือพิมพ์ประเทศไทยเกิดขึ้นเมื่อ สมัยรัชกาลที่ 3 โดยมีชาวอเมริกัน เป็นเจ้าของและบรรณาธิการ  และหนังสือพิมพ์ ฉบับแรกในประเทศไทย เป็นหนังสือพิมพ์รายปักษ์ ชื่อ หนังสือจดหมายเหตุ ( บางกอกกรีคอเดอ The Bangkok Recorder) ซึ่งก็พิมพ์เป็น สองภาษา ทั้งอังกฤษและไทย ทำการได้เพียง 2 ปี ก็ปิดตัวลง และหลังจากนั้นก็มีหนังสือพิมพ์เปิดตัวตามมาอีกหลายฉบับ แล้วต่อมารัชกาลที่ 4 ทรงเป็นผู้จัดทำ หนังสือพิมพ์รายวัน ภาษาไทย ชื่อ ราชกิจจานุเบกษา เพื่อเป็นการชี้แจงข้อผิดพลาด ที่ตึพิมพ์ในหนังสือพิมพ์ของหมอบรัดเล่ย์ และเพื่อแจ้งข่าวสารการบริหารราชภารกิจทางการเมือง  และในสมัยต่อมารัชกาลที่ 5 ก็ได้เริ่มมีการพิมพ์หนังสือพิมพ์ภาษาไทยฉบับแรก และเผยแพร่สู่ประชาชน ชื่อ ดรุโณวาท และมียอดจำหน่ายที่สูงมาก จนต้องมีระบบจัดการส่ง และนี่ก็เป็นการเริ่มต้นของกิจการ ไปรษณีย์ไทย คือ ข่าวราชการ Court ยุคนี้หนังสือพิมพ์ตื่นตัวมาก มีการออกหนังสือพิมพ์ถึง 59 ฉบับ ครั้นมาถึงราชกาลที่ 6 หนังสือพิมพ์รุ่งเรืองมาก หนังสือพิมพ์มีสิทธิ์ที่จะวิพากษ์วิจารณ์รัฐบาล และเสนอความคิดเห็นได้อย่างเสรีเรื่องการบริหารประเทศด้านต่างๆ เช่น หนังสือพิมพ์ จีนโนสยามวารศัพท์ กรุงเทพเดลิเมล์ หนังสือพิมพ์ไทย เป็นต้น ครั้นมาถึงรัชกาลที่ 7 หนังสือพิมพ์ทีน่าเชื่อถือมากที่สุด คือ ประชาชาติรายวัน ซึ่งมีอิทธิพลต่อผู้อ่านมากสุด โดยเฉพาะปัญญาชน ที่ตื่นตัวทางด้าน เศรฐษกิจ การเมือง สังคม  มาถึงรัชกาลที่ 8 หนังสือพิมพ์และสื่อได้ถูกควลคุมโดยรัลบาล เมื่อปี พ.ศ. 2501 เกิดรัฐประหารโดย จอมพลสฤษดิ์ ธนัรัชต์ และหนังสือพิมพ์ตกอยู่ในการควบคุมของประกาศคณะปฎิวัติ  ที่เหลือหนังสือพิมพ์ระดับต้นๆ ก็คือ เกียรติศักดิ์ ( 2495 ) เดลินิวส์ ( 2507 ถึงปัจจุบัน ) เดลิเมย์ ( 2493-2501) ไทยรัฐ ( 2492 ถึงปัจจุบัน ) และก็มีหนังสือพิมพ์อีกหลายฉบับ
                                                                 
                   หนังสือพิมพ์และสื่อทีวี วิทยุ ทุกครั้งที่มีการปฎวัติหรือควบคุมอำนาจนั้น ก็มักที่จะถูกควบคุมแทบทั้งสิ้น เพราะเป็นการที่จะระงับการออกกากาศ หรือข่าวที่จะทำให้ภาคประชาชน ตื่นกลัวนั่นเอง
และก็ไม่ให้ประชาชนนั้น เกิดการต่อต้านนั่นเอง   การปฎิวัติ หรือการทำรัฐประหาร หรือการยึดอำนาจแต่ละครั้งนั้น ก็ล้วนแต่มีเหตุผลทั้งสิ้น ถ้าว่ากันตามหลักความจริงแล้ว ยังไม่มีการปฎิวัติครั้งไหน สำเร็จอย่างแท้จริง เพราะโดยมากก็จะทำเพื่อประโยชน์ของตัวเองแทบทั้งสิ้น เพราะปัญหาที่ดูๆกันมานั้น ต่่างก็มีข้ออ้างว่าทำเพื่อความกูกต้อง แต่หลังจากนั้น ก็จะกลับมาเป็นปัญหาเหมือนเดิม การแบ่งฝักแบ่งฝ่าย ก็เกิดขึ้นอยู่อย่างนั้น ทั้งที่ความเป็นจริงแล้วนั้น นักการเมืองก็ทำเหื่อประโยขน์ส่วนตัวทั้งสิ้น เพียงคนไม่กี่ร้อยคน แต่คนที่เดือดร้อนจริงนั้น หลายสิบล้านคน โดยส่วนมากก็จะทำกาปฎิรูป แต่ก็ด้วยเหตุที่ว่าผลประโยขน์ ที่มากมายมหาศาลนั้น ก็ไม่ประสบความสำเร็จเลยสักครั้งเดียว แต่บางตำรานั้น ก็รวบรวมการทำรัฐประหารไว้ดังนี้ ครั้งที่ ๑ 1 เมษายน พ.ศ. 2476 พระยามโนปกรณ์นิติธาดา ได้ประกาศพระราชกฤษฏีกา ปิดสภาพร้อมงดใช้รัฐธรรมนูญ บางมาตราครั้งที่ ๒ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2476 โดยพลเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา ยึดอำนาจรัฐบาลพระยามโนปกรณ์นิติธาดา ครั้งที่ ๓ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 โดยพลโทผิน ชุนหะวัณ ยึดอำนาจรัฐบาล พลเรือตรี ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ ครั้งที่ ๔ 6 เมษายน พ.ศ. 2491 นำโดยกลุ่มพลโทผิน บังคับให้นาย ควง อภัยวงศ์ ลาออกและมอบตำแหน่งนายกรัฐมนตรี  ให้กับ จอมพล ป พิบูลสงคราม ครั้งที่ ๕ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494 จอมพล ป ยึดอำนาจตัวเอง
ครั้งที่ ๖ วันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2500 โดยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ยึดอำนาจรัฐบาลจอมพล ป พิบูลสงคราม  ครั้งที่ ๗ วันที่ 20 ตุลาคม พศ 2501 จอมพลสฤษดิ์ ยึดอำนาจจอมพล ถนอมกิตติขจร ตามที่ตกลงกันไว้ ครั้งที่ ๘ วันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ 2514 จอมพลถนอม ยึดอำนาจตัวเอง  ครั้งที่ ๙ วันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519 โดย พลเรือเอก สงัด ชลออยู่ ยึดอำนาจรัฐบาล หม่อมราชวงศ์ เสนีย์ ปราโมช ครั้งที่ ๑0 วันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2520 โดยพลเรือเอก สงัด ชลออยู่ ยึดอำนาจนายธานินทร์ กรัยวิเชียร ครั้งที่ ๑๑ วันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534  พลเอกสุนทร คงสมพงษ์ ยึดอำนาจรัฐบาล พลเอก ชาติชาย ชุนหะวัณ ครั้งที่ ๑๒ วันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2549โดย พลเอกสนธิ บุญยรัตกลิน ยึดอำนาจรักษาการ พันตำรวจโท ทักษิน ชินวัตร มาถึงครั้งนี้ ล่าสุด ครั้งที่ ๑๓ วันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 โดยพลเอก ประยุทธ จันทร์โอชา รัฐบาลรักษาการณ์นายนิวัฒน์ธำรง บุญทรงไพศาล ปฎิบัติหน้าที่แทน นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ที่ได้ลาออกจากตำแหน่ง เมื่อเกิดการวุ่นวายทางการเมือง โดยเกิดปัญหา ม็อบที่ต้ังอยู่แทบจะทั่วกรุงเทพฯ ที่นำโดยนายสุเทพ เทือกสุบรรณ และอีกฝ่ายที่ตั้งอยู่ที่ ถนนอักษะ และผู้คนที่ทำมาหากินได้รับความเดือดร้อนไปทั่ว
                เมื่อทุกครั้งที่มีการรัฐประหาร ยึดอำนาจ ต่างก็อ้างว่าทำเพื่อประชาชน แม้กระทั่งการตั้งม็อบ ก็ตามที แต่แท้ที่จริงแล้ว เป็นเพียงผลประโยชน์ ทั้งนั้น ไม่มีใครที่จะแก้ปัญหาได้จริง
ทั้งที่คนส่วนใหญ่ที่เดือดร้อนจริงๆนั้น มีมากมายมหาศาล แต่ที่วุ่นวายนั้น ก็เพียงผลประโยชน์ ของนักการเมือง ปัญหาของคนไทยนั้น ก็คือ นักการเมืองที่มีอำนาจมากเกินไป เลยเมื่อขึ้นมาแล้วกก็จ้องแต่
แสวงหาผลประโยชน์ ถ้าสังเกตุให้ดี จะพบว่า ไม่มีนักการเมืองคนไหน ที่ทำเพื่อประชาชนชาวไทยเลย แม้แต่คนเดียว การที่จะแก้ปัญหา ไมม่ให้มีการปฎิวัติอีกนั้น คิดว่าประเทศไทยคงไม่มีวันที่จะพ้นไปได้ เพราะปัญหานั้น ก็มาจากผู้ใช้กฎหมายนั้น ต่างก็เอื้อเผื้อ แก่พรรคพวก และคนมีเงิน มีความเหลื่อมล้ำระหว่างชนชั้น มากไปคนมีเงินมีอำนาจก็มักจะใช้อำนาจในทางที่ผิด และนักการเมืองนั้น ก็มีแต่คนหน้าเดิม คนเดิม หรือไม่ก็ลูกหลายมานั่นเอง การซื้อเสียงนั้น ก็มีมามากทุกยุคทุกสมัย คงอีกนานกว่าจะมีคนที่จะทำเพื่อประชาชน และประชาชนนั้น ก็จะต้องยึดเอาความถูกต้องเป็นหลัก จึงจะเกิดเรื่องดีขึ้นมาได้
ประเทศไทยนั้น ไมมีการแก้กฎหมายมานาน เรียกได้ว่าใช้กฎหมายฉบับเดียว ไม่มีการแก้ไขให้ทันยุค เป็นเหตุให้หลายครั้ง คนเรานั้นจึงต้องทำการปฎิวัติ แต่ที่ประเทศ อเมริกานั้น เขสให้คำตัดสินของศาล
เป็นกฎหมายด้วยเลย ถ้าเห็นว่าดีพอ นี่เป็นข้อคิดที่ดีมากสำหรับประทเศไทย แม้ประเทศไทยจะเป็นอย่างไร ห่วงสุขตัวคุณเองด้วย อาหารเสริมลดน้ำหนัก เสมอๆ